EECP Therapy คุ้มไหม ? กับทางเลือกใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ
EECP ได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นวิธีที่สามารถช่วยในการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับการผ่าตัดหรือการรักษาอื่น ๆ ได้ กระบวนการนี้ยังช่วยส่งเสริมการสร้างหลอดเลือดใหม่รอบ ๆ หลอดเลือดที่ตีบหรืออุดตัน ซึ่งช่วยปรับปรุงการไหลเวียนของเลือดและลดอาการเจ็บหน้าอกจากหัวใจ
NK CELL หนึ่งทางเลือกในการรักษาโรคมะเร็ง
NK cells มีความสามารถในการกระตุ้นการทำลายเซลล์ที่ติดเชื้อโดยใช้กลไกที่ซับซ้อนและมีประสิทธิภาพ กระบวนการนี้สามารถอธิบายได้เป็นขั้นตอนหลัก ๆ
ใครบ้างที่เหมาะกับโปรแกรม EECP Therapy
EECP Therapy ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยเท่านั้น คนทั่วไปที่ไม่มีโรคประจำตัวแต่อยากทำเพื่อฟื้นฟูสุขภาพ อยากปรับปรุงการไหลเวียนโลหิตและสุขภาพหัวใจ ต้องการเสริมสร้างสุขภาพทั่วไป ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจในอนาคต อีกทั้งการบำบัดด้วย EECP สามารถเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มนักกีฬาอีกด้วย แม้ว่าจะไม่ได้ใช้เพื่อการรักษาโรคเฉพาะทาง แต่การบำบัดด้วย EECP สามารถช่วยส่งเสริมสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย
EECP Therapy ทำครบ 35 ครั้ง ได้อะไรมากว่าที่คุณคิด ?
เขาว่ากันว่า เส้นเลือดทั้งหมดในร่างกายของคนเรานั้นหากนำมาต่อกันจะจะได้เท่ากับสนามฟุตบอลหลายสนาม หรือมีความยาวรวมประมาณ 100,000 กิโลเมตร นี่แหละคือความมหัศจรรย์ของระบบหลอดเลือดในร่างกาย
การบำบัดด้วย EECP ครบ 35 ครั้งอาจส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายระบบและอวัยวะในร่างกาย โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ที่จะส่งผลได้ชัดเจนที่สุด ดังนี้
มาทำความรู้จัก เครื่อง EECP นวัตกรรมใหม่ก้าวล้ำของเทคโนโลยีการแพทย์
EECP หรือEnhanced External Counter Pulsation เป็นการบำบัดที่ใช้ปลอกลม ที่ถูกนำมาสวมรอบขาส่วนล่าง ซึ่งปลอกลมเหล่านี้จะถูกเติมลมตามลำดับในช่วงที่หัวใจคลายตัว และจะถูกปล่อยลมพร้อมกันก่อนที่หัวใจจะบีบตัว
ขอแสดงความยินดีกับกิตติคม ยั่งยืน ผู้บริหารKloss Wellness Clinic
นายกิตติคม ยั่งยืน CEO ฝ่ายบริหาร Kloss Wellness Clinic ได้รับรางวัลผู้บริหารดีเด่น ด้วยความโดดเด่นในการดำเนินธุรกิจ และมีผู้บริหารที่มีผลงานโดดเด่น มีคุณค่าแก่การยกย่องและชื่นชม จึงได้รับขวัญและกำลังใจเกียรติยศแห่งความสำเร็จ ที่ทำคุณประโยชน์มือของผู้ให้
เก้าอี้ที่เธอนั่ง มันลดอาการปวดหลังได้เท่า Kloss ป่ะ
อาการปวดหลังเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยและสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นวัยทำงานหรือผู้สูงอายุ อาการปวดหลังสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่การบาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึงปัญหาที่รุนแรงที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลังและกล้ามเนื้อบริเวณหลัง
นั่งเก้าอี้นาน ระวังเสี่ยงกล้ามเนื้อหนีบเส้นประสาท
เคยไหม นั่งทำงานนาน ๆ ลุกขึ้นมายืนแล้วรู้สึกปวดสะโพก ร้าวลงขา ชา หรือรู้สึกอ่อนแรง บอกเลยว่าอาจเป็นสัญญาณของ “กล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท” โรคยอดฮิตของคนยุคใหม่
เก๊าท์ กับ รูมาตอยด์ แตกต่างกันนะ รู้ยัง ?
เก๊าท์และรูมาตอยด์ถึงทั้งสองโรคนี้จะทำให้ข้ออักเสบกันทั้งคู่ แต่สาเหตุ การรักษาจะแตกต่างกันอย่างมาก และหลายๆคนอาจจะยังแยกอาการ และอาจจะสับสนอย่างมาก
วันนี้ Kloss จะพามาทำความรู้จักกับทั้งสองโรค และเพื่อนๆลองสังเกตุตัวเองว่าเรามีอาการแบบไหนกันแน่ !
ไตวายเรื้อรัง VS ไตวายเฉียบพลัน
ไตวายเรื้อรัง VS ไตวายเฉียบพลัน แตกต่างกันอย่างไร
เข้าใจความแตกต่าง เริ่มต้นการรักษาได้ทันท่วงที
ไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease: CKD) และไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury: AKI) เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของไตที่ผิดปกติ แต่มีกลไกการเกิด อาการ และการรักษาที่แตกต่างกัน